การเปลี่ยนแปลงของประชากรโลก ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นั้น เป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่ง ที่เกิดจากปัจจัยหลักเพียง 2 ประการคือ การเกิด และการตาย ซึ่งแตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงของประชากร ในภูมิภาคย่อยๆ เช่น ทวีปหรือประเทศ ที่มีปัจจัยหลักนอกจากการเกิด และการตายแล้ว ยังมีการย้ายถิ่นของประชากรเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
จากการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการขยายตัวของสังคมเมือง และที่อยู่อาศัย เกิดการขยายตัวขึ้นเป็นเมืองขนาดใหญ่ บางเมืองอาจจะขยายใหญ่จนล้นทะลักเขตเมือง และมีเมืองใหม่เกิดขึ้นบริเวณชายขอบ ที่อยู่อาศัยของประชาชนหนาแน่น มีการใช้ที่ดินอย่างเข้มข้น มีตึกอาคารสูงเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น
10 ประเทศที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก ในปี 2554
1. China 1,369 millions 19.84% of world
2. India 1,201 millions 16.96% of world
3. United States 304 millions 4.56% of world
4. Indonesia 232 millions 3.47% of world
5. Brazil 187 millions 2.80% of world
6. Pakistan 163 millions 2.44% of world
7. Bangladesh 159 millions 2.38% of world
8. Nigeria 148 millions 2.22% of world
9. Russia 142 millions 2.13% of world
10. Japan 128 millions 1.92% of world
2. India 1,201 millions 16.96% of world
3. United States 304 millions 4.56% of world
4. Indonesia 232 millions 3.47% of world
5. Brazil 187 millions 2.80% of world
6. Pakistan 163 millions 2.44% of world
7. Bangladesh 159 millions 2.38% of world
8. Nigeria 148 millions 2.22% of world
9. Russia 142 millions 2.13% of world
10. Japan 128 millions 1.92% of world
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรโลก
ปัจจัยหลักที่ทำให้จำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก
1. การค้นคว้าทางการแพทย์ ที่มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การผลิตวัคซีนป้องกันและรักษาโรค รวมถึงมีองค์การที่เกี่ยวกับการระบาดของโรคและวัฏจักรของการแพร่เชื้อโรค
2. ความรู้เรื่องสุขอนามัยของประชากร ประชากรโลกแทบทุกประเทศมีความรู้เรื่องสุขอนามัยมากขึ้นรวมทั้งมีการจัดการระบบ การวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ
3. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ที่ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารทางการแพทย์ และสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง เช่น ผู้ป่วยสามารถปรึกษาอาการกับแพทย์ ได้ทางโทรศัพท์หรือสื่อต่างๆ หรือ
การให้คำปรึกษาทางการแพทย์ ผ่านระบบโทรคมนาคมต่างๆ เป็นต้น
4. ระบบสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงเริ่มมีบทบาททางสังคมมากขึ้นทำให้ผู้หญิงทีมีทัศนคติต่อการแต่งงานเป็นด้านลบ ส่งผลให้จำนวนประชากรวัยเด็กลดน้อยลง
1. การค้นคว้าทางการแพทย์ ที่มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การผลิตวัคซีนป้องกันและรักษาโรค รวมถึงมีองค์การที่เกี่ยวกับการระบาดของโรคและวัฏจักรของการแพร่เชื้อโรค
2. ความรู้เรื่องสุขอนามัยของประชากร ประชากรโลกแทบทุกประเทศมีความรู้เรื่องสุขอนามัยมากขึ้นรวมทั้งมีการจัดการระบบ การวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ
3. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ที่ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารทางการแพทย์ และสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง เช่น ผู้ป่วยสามารถปรึกษาอาการกับแพทย์ ได้ทางโทรศัพท์หรือสื่อต่างๆ หรือ
การให้คำปรึกษาทางการแพทย์ ผ่านระบบโทรคมนาคมต่างๆ เป็นต้น
4. ระบบสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงเริ่มมีบทบาททางสังคมมากขึ้นทำให้ผู้หญิงทีมีทัศนคติต่อการแต่งงานเป็นด้านลบ ส่งผลให้จำนวนประชากรวัยเด็กลดน้อยลง
ปัญหาของการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก
1. ปัญหาการขาดแคลนอาหารและทัพยากร
- เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นอย่างมากอาหารและทรัพยากรต่างๆ ย่อมไม่เพียงพอต่อความต้องการ ก่อให้เกิดการขาดแคลนในบางประเทศที่กำลัีงพัฒนา
- การพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ อาจทำให้อาหารมีสารพิษปนเปื้อน หรือ ทำลายสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ
2. ปัญหาการเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- เมื่อมีการขาดแคลนทรัพยากรเกิดขึ้นทำให้ต้องมีการบุกรุกป่าไม้ เพื่อที่จะหาทรัพยากร ทำให้เกิดการขาดพื้นที่ป่าไม้ และเป็นการทำลายระบบนิเวศน์
- ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างมาก มีการปล่อยของเสียสู่ที่ต่าง ๆ ทำให้เกิดมลพิษ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ประชากรโลก และ ทำให้สภาพอากาศโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
3. ปัญหาด้านคุณภาพชีวิตและสังคม
- เมื่อทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด แต่ประชากรกลับเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยกรและการแข่งขันทางสังคมสูงขึ้น
- ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสังคม เช่น การขาดการศึกษา สุขภาพอนามัยไม่ดี ขาดแคลนที่อยู่ และ ปัญหาการว่างงาน
4. ปัญหาการขัดแย้งระหว่างประเทศ
- ประเทศที่มีการพัฒนาแล้ว บางประเทศมีนโยบายระบายประชากรออก เเพื่อแสวงหาอาณานิคมและทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งอาจทำหให้เกิดการขัดแย้งขึ้นประหว่างประเทศ
- ก่อให้เกิดปัญหา รุกกล้ำข้ามพรมเดิน หรือ ผู้อพยบเข้ามาอย่างผิดกฏหมาย
- เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นอย่างมากอาหารและทรัพยากรต่างๆ ย่อมไม่เพียงพอต่อความต้องการ ก่อให้เกิดการขาดแคลนในบางประเทศที่กำลัีงพัฒนา
- การพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ อาจทำให้อาหารมีสารพิษปนเปื้อน หรือ ทำลายสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ
2. ปัญหาการเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- เมื่อมีการขาดแคลนทรัพยากรเกิดขึ้นทำให้ต้องมีการบุกรุกป่าไม้ เพื่อที่จะหาทรัพยากร ทำให้เกิดการขาดพื้นที่ป่าไม้ และเป็นการทำลายระบบนิเวศน์
- ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างมาก มีการปล่อยของเสียสู่ที่ต่าง ๆ ทำให้เกิดมลพิษ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ประชากรโลก และ ทำให้สภาพอากาศโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
3. ปัญหาด้านคุณภาพชีวิตและสังคม
- เมื่อทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด แต่ประชากรกลับเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยกรและการแข่งขันทางสังคมสูงขึ้น
- ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสังคม เช่น การขาดการศึกษา สุขภาพอนามัยไม่ดี ขาดแคลนที่อยู่ และ ปัญหาการว่างงาน
4. ปัญหาการขัดแย้งระหว่างประเทศ
- ประเทศที่มีการพัฒนาแล้ว บางประเทศมีนโยบายระบายประชากรออก เเพื่อแสวงหาอาณานิคมและทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งอาจทำหให้เกิดการขัดแย้งขึ้นประหว่างประเทศ
- ก่อให้เกิดปัญหา รุกกล้ำข้ามพรมเดิน หรือ ผู้อพยบเข้ามาอย่างผิดกฏหมาย
http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3882
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น